การควบคุมบังคับโค และการฆ่าโดยไม่ทำให้สัตว์สลบ

การจัดการเลี้ยงดูโคเนื้อ
June 13, 2017
การควบคุมบังคับโคก่อนการทำให้สลบ
June 14, 2017

การควบคุมบังคับโค และการฆ่าโดยไม่ทำให้สัตว์สลบ

การควบคุมบังคับโค และการฆ่าโดยไม่ทำให้สัตว์สลบ

  • ขอบเขต

–  จุดประสงค์
– วิธีบังคับสัตว์ เพื่่อเชือดเอาเลือดออกโดยไม่ทำสลบ
– การออกแบบซองคับสัตว์
– วิธีการจัดการที่ไม่ยอมรับ
– การเอาเลือดออก

  • ตำแหน่ง
  • ลักษณะมีด
  • ความเร็ว
  • อาการหมดสติ

จุดประสงค์วิธีบังคับสัตว์ เพื่อเอาเลือดออกโดยไม่ทำให้สัตว์สลบ

  • เพื่อให้เป็นตามหลักศาสนา
  • เพื่อให้เป็นตามข้อกำหนดหลักสวัสดิภาพสัตว์ตามคำแนะนำขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE)

Chapter 7.5
Article 7.5.10.1
–0–

The restraining methods which work through electro-immobilisation or immobilisation by injury such as
breaking legs, leg tendon cutting, and severing the spinal cord (e.g.using a puntilla or dagger) cause
severe pain and stressin animals. Those methods are not
acceptable in any species.

วิธีการบังคับสัตว

วิธีง่ายสุดคือ

– ซองบังคับ
– เชือก
– บ่วงคอ
– บังเหียน
– แอลคอ
– เปล (cradle) เหมาะสำหรับลูกโค

 

https://www.jefferspet.com/poly-cow-halter/camid/liv/cp/0036078/

http://www.nzdl.org/

http://members.optusnet.com.au/supaweld/calf_cradle.htm

หลักการในการบังคับสัตว์ก่อนนำเข้าฆ่าโดยไม่ทำสลบ

  • สัตว์ต้องสงบไม่ดิ้นรนต่อสู้ เพื่อนำไปสู่การบังคับสัตว์ที่มีประสิทธิภาพ และต้องเอาเลือดออกอย่างรวดเร็ว
  • การบังคับสัตว์ที่ไม่ดี จะทำให้สัตว์ตื่นตกใจและต่อสู้ขัดขืน
  • การสังเกตุ พบว่าสัตว์ที่สงบ เมื่อนำเลือดออกจะหมดความรู้สึกและจะล้มลงเร็วไม่ทุรนทุราย ได้เร็วกว่าสัตว์ที่ตกใจ

ลักษณะของการบังคับโคตามอุดมคติ ก่อนเข้าฆ่าโดยไม่ทำสลบ

  • บังคับให้อยู่ในท่าทางตามธรรมชาติที่สบาย
    – ท่ายืน หรือนอนตะแคง
  • ต้องมีแรงกดของอุปกรณ์ประคองตัว ที่เหมาะสม (ตัว คอและหัว)
  • การบังหัว
    -โดยเปิดส่วนคอให้สำหรับเชือด
  • สัตว์ไม่ดิ้นรนต่อสู้ต่อการบังคับ
    -ไม่สามารถเคลื่อนไหวส่วนหวั/คอ
  • บังคับสัตว์ให้นานแค่เพียงพอป้องกันไม่ให้สัตว์ทำอันตราย ตนเองหลังโดนเชือดจากการกระตุกของร่างกายหลังเชือดคอ

การทำงานของซองบังคับ

ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์และเพื่อให้การฆ่าที่ไม่ดีเกิดน้อยที่สุด
ซองบังคับสัตว์จึง :

  • ป้องกันการเคลื่อนไหวของสัตว์
    – ไปข้างหน้าและหลัง
    – ไปด้านข้าง
    – เปิดคอ และ ทำให้หวันิ่งเพื่อให้แทงคอได้
  • ป้องกันสิ่งกระตุ้นการมองเห็น (visual stimuli)
  • ลดความเครียดให้เกิดน้อยที่สุด
  • ป้องกันและให้ความปลอดภัย ต่อผู้ปฏิบัติงาน
  • ป้องกันการล้มลง เนื่องจากการขาดเลือดและหมดสติ

ประเด็นสำคัญของการบังคับสัตว์โดยไม่ทำสลบ

จุดสำคัญ

  • ทางเข้าซองบังคับ – เป็นจุดวิกฤตในการบังคับโค (โคต้องเข้าซองแบบสมัครใจ)
  • การออกแบบที่ยกคาง หรือ ที่บังคับหัวให้เหมาะสม
  • แรงบีบ แรงกด ที่โคได้รับตอนบังคับจากอุปกรณ์ช่วยบังคับในซองบังคับ
  • การบังคับสัตว์ควรง่ายและอุปกรณ์สามารคลายตัวโคได้รวดเร็ว
  • ป้องกันโคจากการทำร้ายหรือดิ้นรนขัดขืน

Optimal pressure

วิธีทำให้การจัดการง่ายขึ้น

  • พยายามลดเสียงดังรบกวน บริเวณใกล้ซองบังคับให้น้อยที่สุด
  • การออกแบบซอง: ออกแบบทางเข้าให้เหมือนบริเวณที่สามารถเดินผ่านได้ติดตั้งพื้นเทียม (พื้นวัสดุเดียวกับซองบังคับ) ประมาณ 1.5 เมตรก่อนเข้าสู่ซองบังคับ
  • ติดตั้งไฟกระจายแสงเหนือซองบังคับ

Box creating an impression of a ‘passing through’ area

Restraint Box Designs (1)

ASPCA Box

Restraint Box Designs (2)

Head Restraint

Restraint Box Designs (3)

Rajin 2 Box

วีดิทัศน์: การบังคับโคเพื่อนำเลือดออกในโค ท่ายืน

Restraint Box Designs (5)

Alternative Designs

Mark IV Box

การบังคับสัตว์ที่ไม่ยอมรับ

การแขวนสัตว์ขณะมีชีวิต (Hoisting of liveanimal)

ข้อควรจำ: การบังคับสัตว์ (1)

  • การบังคับสัตว์เป็นขั้นตอนที่ก่อให้เกิดความเครียดสูง ดังนั้นห้ามทิ้งให้สัตว์รอคอยอยู่ในซองบังคับสัตว์
  • ต้องไม่ให้สัตว์เข้าซองบังคับจนกว่าคนเชือดได้ลับมีดพร้อมที่จะทำการเชือดได้ทันที
  • การทำให้สัตว์สงบ : สัตว์ที่สงบจะหมดสติเร็วกว่า และจัดการได้ง่ายกว่า ประเมินได้จากการส่งเสียงร้องของโค

ข้อควรจำ: การบังคับสัตว์ (2)

  • หลีกเลี่ยงแรงดันจากเครื่องมือที่มากเกินไป
  • หากใช้อุปกรณ์ไฮดรอลิค การมีวาล์วจำกัดแรงกดดันจะเป็นสิ่งที่ดีเพื่อหลีกเลี่ยงแรงกดที่มากเกินไป
  • ใช้เวลาในการบังคับสัตว์เพื่อการฆ่าตามหลักศาสนาให้น้อยที่สุด
  • เวลาในการบังคับสัตว์ควรน้อยกว่า 10 วินาที ก่อนแทงคอเอาเลือดออก

Summary Video:Restraint and bleeding

คำแนะนำทั่วไป: การนำเอาเลือดออก

เพื่อให้สัตว์มีสวัสดิภาพสัตว์ จำเป็นที่การตัดเส้นเลือดต้องตัดเส้นที่เลือดไปเลี้ยงสมอง :

  • ต้องรวดเร็ว (rapid)
  • ปริมาณเลือดพุ่งออกมามาก (profuse)
  • เลือดออกอย่างสมบูรณ์(complete)

การเชือดเอาเลือดออกในสัตว์ที่ไม่ได้ทำสลบ

  • ให้ทำการนำเลือดออกให้เร็วที่สุดที่เป็นไปได้
  • ตัดคอตามขวางในการเชือดหนึ่งครั้ง หรือถ้าจำเป็นสามารถเชือดไปกลับ(reciprocal cut)ได้
  • ตัดเส้นเลือด carotid ทั้งสองข้าง
  • การที่เลือดออกต้องเร็ว (มากที่สุด)
  • หากพบเลือดออกช้า ให้ทำการเชือดอีกครั้ง

ลักษณะของการนำเอาเลือดออกที่ดีในมุมมองของสวัสดิภาพสัตว์

สิ่งสำคัญ

  • สัตว์สงบ
    – กระทำอย่างมีมนุษยธรรม
    – การออกแบบซองบังคับและเครื่องมือที่ดี
  • ตำแหน่งในการเชือดเหมาะสม
    – ตำแหน่ง C1 เปรียบเทียบกับ C3
  • มีด : ความคม และขนาดของมีด
  • ความเร็วของการเชือด

ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในช่วงที่เอาเลือดออก

  1. การหายใจเอาเลือดเข้าหลอดลม (aspiration of blood)
  2. การเกิดก้อนเลือดแข็งตัว (false aneurysms)

ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในช่วงที่เอาเลือดออก

ตำแหน่งที่เชือด C1 vs C3

 ตำแหน่งของการเชือด: C1 เทียบกับ C3 (1)

  • การหายใจเอาเลือดเข้าหลอดลม (aspiration of blood)
    – เป็นความเครียด และเจ็บปวด
    – สามารถพบได้ ร้อยละ 19 – 58 ของโค
    – การเชือดที่ตำแหน่ง C1 จะตัดเส้นประสาทที่เรียกว่า vagusnerve และทำลายการส่งสัญญาณความรู้สึกจากทางเดินหายใจ

ตำแหน่งของการตัด: C1 เทียบกับ C3 (2)

  • การเกิดก้อนเลือดแข็งตัว (false aneurysms)
  • โคที่ใช้เวลานานกว่าจะล้ม พบ มี aneurysm ขนาดใหญ่ในเส้นเลือดแดงใกล้หัวใจ พบได้ร้อยละ 71
    – โดยเฉลี่ย aneurysm เกิดได้ร้อยละ 6-10 ของโคที่โดนเชือดที่ระดับ C3
    – แต่ถ้าเชือดที่ระดับ C1 แต่เกิดแค่ร้อยละ 1

ความคมและขนาดของมีด

  • ต้องการการเคลื่อนไหวน้อยที่สุด: เชือดครั้งงเดียวลึก
  • ต้องการแรงกดในการเชือดน้อย
  • ขอบแผลเรียบ: มีเลือดแข็งตัวน้อยและเจ็บปวดน้อยกว่า
  • ขนาด: ความยาวเป็ น 1-1/2 ถึง 2 เท่าของความกว้างของคอ
  • ความคม: การทดสอบ: มีดสามารถตัดกระดาษ A4 ที่ใช้ปลายนิ้วคีบไว้ใน 1ครั้งโดยไม่ต้องเถือ

Design: Bleeding Knife

การใช้มีดที่มีความยาวเหมาะสม เพื่อป้องกัน ปลายมีดสอดเข้าไปในปากแผล

ผลจากการใช้มีดทื่อ

  • รอยตัดไม่เรียบ
  • ทำลายผนังเส้นเลือดแดง
  • เส้นเลือดแดงหดตัวมีเลือดแข็งตัวที่ขอบ

http://www.wikihow.com/Properly-Slaughter-a-Cow-Under-the-Kosher-Method-Shechitah

ผลจากการใช้มีดทื่อ

ความเร็วของการเชือด

  • การเชือดเร็ว :
    – ทำได้ในกรณีที่มีดคมมากเพียงพอ
    – ระคายผิวน้อยกว่าและทำลายเนื้อเยื่อ น้อยกว่า (สัมพนัธ์กบัการเจ็บ ปวดน้อยกว่า)
    – ทำให้เกิดการเชือดที่นุ่มนวล และเกิดการกระตุ้น ระบบประสาทอัตโนมัติในระดับต่ำ (sympathetic) ทำให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดที่ไปลำไส้ไปม้าหดตัวทำให้ความดันเลือดสูงขึ้น สมองมีเลือดไปเลี้ยงมากขึ้น ทำให้ร่างกายพร้อมที่จะสู้หรือจะหนี้
  • การเชือดช้า :
    – สัมพันธ์กับการเกิดการหมดสติช้าและเจ็บปวด

ช่วงเวลาหลังการนำเลือดออก และการจัดการบาดแผล

  • ปากแผลต้องไม่ปิดคลุมมีด หรือปากแผลอ้าออกไม่สัมผัสกัน
  • ต้องไม่เหยยีดคอมากไป เพราะจะก่อให้เกิดการกระตุ้น สัตว์ดิ้นรนและเจ็บปวด
  • พยายามรักษาระดับให้มีการบังคับสัตว์ให้น้อยที่สุด เพื่อไม่ให้มีอันตรายต่อสัตว์ หรือสัตว์ล้มลงหลังเชือด
  • ปล่อยให้สัตว์เลือดออกจนตาย (irreversibly unconscious)

อาการของการหมดสติ

  • กรณีสัตว์ที่บังคับในท่ายืน :
    – การทรุดตัวลง (loss of posture) เป็นอาการแรกของการหมดสติ
  • กรณีสัตว์ที่บังคับในท่านอนตะแคง :
    – การคลายตัวของกล้ามเนื้อ(โดยเฉพาะที่หาง) และไม่มี blinkreflex เป็นอาการที่ดีสุดในการระบุการหมดสติ

ตรวจสอบว่าสัตว์ตายแล้ว ก่อนเข้าสู้ขั้นตอนต่อไป

วีดีทัศน์: การนำเลือดออกในโค

สรุป: การบังคับสัตว์ และการเอาเลือดออกแบบไม่ทำสลบ

  • หลักการในการบังคับสัตว์ก่อนนำเข้าฆ่าโดยไม่ทำให้สลบ
    – สงบไม่ดิ้นรนต่อสู้และเอาเลือดออกมากที่สุด
  • ลักษณะของการบังคับโคตามอุดมคติ
    – ท่าที่สบายตามธรรมชาติ
  • ประเด็นสำคัญ ของการบังคับสัตวโดยไม่ทำสลบ
    – ทางเข้าซองบังคับ การออบแบบอุปกรณ์ แรงกด แรงบีบ เหมาะสม
  • การนำเอาเลือดออก
    – รวดเร็ว (rapid)
    – พุ่งออกมามาก (profuse)
    – เลือดออกอย่างสมบูรณ์ (complete)

สรุป: การบังคับสัตว์ และการเอาเลือดออกแบบไม่ท าสลบ (ต่อ)

  • ลักษณะของการน าเอาเลือดออกที่ดี
    – สัตว์ต้องสงบ
    – ตำแหน่งในการเชือดเหมาะสม (C1 เปรียบเทียบกบั C3)
    – ความคมและขนาดของมีด
    – ความเร็วของการเชือด
  • อาการของการหมดสติ
    – ไม่มีการหายใจ ไม่มี corneal reflex

ที่มา http://certify.dld.go.th/th/images/oie/animal%20welfare%20beef/08.pdf

 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *