การควบคุมบังคับโคก่อนการทำให้สลบ

การควบคุมบังคับโค และการฆ่าโดยไม่ทำให้สัตว์สลบ
June 13, 2017
หลักการควบคุมสัตว
June 14, 2017

การควบคุมบังคับโคก่อนการทำให้สลบ

การควบคุมบังคับโคก่อนการทำให้สลบ

วิธีการควบคุมบังคับ

  • วิธีการโดยง่าย ได้แก่ :
    – ปลอกสวมหัว (head collar) : บ่วงคอ (halter)
    – สนตะพาย (girdle)
    – แอกคอ (neck yoke)
    – ซองบังคับลูกโค (cradle calves)
    – ซองควบคุมบังคับ (restraint box)

ปลอกสวมหัว (head collar) : บ่วงคอ (halter)

head collar (UK) or halter (US) is headgear

สนตะพาย (girdle)

แอกคอ (neck yoke)

ซองบังคับลูกโค (cradle calves)

ซองควบคุมบังคับ (restraint box)

ซองควบคุมบังคับ (restraint box)

  • ช่วยทำให้การทำสลบมีประสิทธิภาพ
  • เพื่อลดการเข้าฆ่าที่ไม่ดีและเพื่อปกป้องสวัสดิภาพสัตว

หน้าที่ของซองควบคุมบังคับ

  • การจำกัดการเคลื่อนที่สัตว์
    – ข้างหน้าและถอยหลัง
    – ด้านข้าง
    – เห็นตำแหน่งที่ถูกต้องในการทำสลบ หรือลดการเคลื่อนที่ขึ้นลงของหัวโค

หน้าที่ของซองควบคุมบังคับ

  • รักษาระดับความเครียดให้อยู่ในระดับน้อยที่สุด
  • ป้องกันผู้ปฏิบัติงาน

การเคลื่อนย้ายสัตว์เข้าซองควบคุมบังคับ

  • สิ่งสำคัญในการเคลื่อนย้ายสัตว์เข้าซอง
    – ต้องได้รับการออกแบบที่ดี
    – ผู้ปฎิบัตงิานที่มีประสบการณ์
    – ตัวสัตว์ต้องเข้าสู่ซองควบคุมบังคับโดยความสมัครใจ
  • จุดวิกฤตในการจัดการสัตว
  • ต้องการการจัดการแบบต่อเนื่อง (โรงฆ่าสัตว์กำลังการฆ่าจำนวนมาก)

ทางเข้าสู่ซองควบคุมบังคับ

เหตุใดการเคลื่อนย้ายสัตว์เข้าสู่ซองควบคุมบังคับ มีแนวโน้มในการจัดการ ยากกว่าการจัดการขั้นตอนอื่นๆ

ปัญหาสำคัญในการเคลื่อนย้ายสัตว์เข้าสู้ซองควบคุมบังคับ

  • โดยปกติส่วนนี้เป็ นส่วนแยกระหว่าง :
    – สัตว์ยังรวมกันเป็นกลุ่ม(คอก) สู่ซองควบคุมบังคับเพียงตัวเดียว (ซอง)
    – พื้นที่ภายนอกและภายในอาคาร
    – พื้นที่มีโครงสร้างแตกต่างกัน
    – ความสว่างและความมืด
    – สิ่งแวดล้อมที่เงียบ สงบ และ เสียงดัง วุ่นวาย
    – บางครั้งถูกมองว่าเป็นทางตัน

ทำอย่างไรให้สถานการณ์การเคลื่อนย้ายสัตว์เข้าสู่ซองคุมบังคับง่ายขึ้น

  • รักษาระดับเสียงรอบซองควบคุมบังคับให้น้อยที่สุด
  • ออกแบบซองทำสลบ ด้วยการแสดงให้เห็นพื้นที่เป็น “ทางผ่าน” ไม่ใช่ “ทางตัน”
  • ติดตั้งแสงแบบกระจายเหนือซองทำสลบ
  • ติดตั้งพื้นหลอก (พื้นที่ใช้วัสดุเดียวกันกับพื้นในซองควบคุมบังคับ) ระยะโดยประมาณ 1.5 เมตร ก่อนถึงทางเข้าสู่ซองควบคุมบังคับ

ซองที่แสดงเจตนาเป็นพื้นที่เพื่อ `ผ่าน´

วีดีทัศน์ซองที่แสดงเจตนาเป็นพื้นที่เพื่อ `ผ่าน´

การแสดงให้เห็นพื้นที่ เป็น “ทางตัน”

วีดีทัศน์ : โคลังเลที่จะเข้าสู่ซองควบคุมบังคับ

วีดีทัศน์การเปิดประตูทำให้แสงสว่าง

วีดีทัศน์ : โคเข้าสู่ซองควบคุมบังคับ

การออกแบบซองควบคุมบังคับ (1)

  • ซองลักษณะทั่วไป (Simple box)
  • ซองลักษณะทั่วไปที่ให้การควบคุมบังคับโดยอ้อม (Simple box with passive restraint)
  • ซองลักษณะทั่วไปที่บางส่วนให้การควบคุมบังคับโดยอ้อม (Simple box with part-passive restraint)
  • ซองที่มีการควบคุมบังคับส่วนหัวโดยตรง และส่วนอื่นๆ (Box with active restraint of head and other parts)

การออกแบบซองควบคุมบังคับ (2)

วีดีทัศน์ : การควบคุมบังคับในซองลักษณะทั่วไป

การออกแบบซองควบคุมบังคับ (3)

วีดีทัศน์ซองลักษณะทั่วไปที่ให้การควบคุมบังคับโดยอ้อม

(Simple box with part – passive restraint)

การออกแบบซองควบคุมบังคับ (4)

การออกแบบซองควบคุมบังคับ (5)

การออกแบบซองควบคุมบังคับ (5)

การควบคุมบังคับ

  • สัตว์ถูกทิ้งรอไว้ซองควบคุมเกิดความเครียดอย่างมาก
  • ย้ายสัตว์เข้าสู่ซองควบคุมบังคับ เมื่อพนักงานพร้อมที่จะทำสลบและเอาเลือดออก
  • การทำให้สลบเมื่อพนักงานพร้อมที่จะเอาเลือดออกจากตัวสัตว

วีดีทัศน์ : โคถูกทิ้งให้รอในซองควบคุมบังคับ

การปฏิบัติที่ไม่เป็นที่ยอมรับ (1)

การปฏิบัติที่ไม่เป็นที่ยอมรับ (2)

การปฏิบัติที่ไม่เป็นที่ยอมรับ (3)

องค์ประกอบที่สำคัญของการฆ่าอย่างมีมนุษยธรรม

วีดีทัศน์สรุป : การควบคุมบังคับสัตว์ก่อนการทำให้สลบ

ที่มา http://certify.dld.go.th/th/images/oie/animal%20welfare%20beef/06.pdf

 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *