หลักการควบคุมสัตว

การควบคุมบังคับโคก่อนการทำให้สลบ
June 14, 2017
มาตรฐานสินค้าเกษตร
June 15, 2017

หลักการควบคุมสัตว

หลักการควบคุมสัตว

เนื้อหา

  • หลักการจัดการควบคุมสัตว์
  • พฤติกรรมการเรียนรู้
  • อาณาเขต (Flight zone)
  • จุดสมดุลย์ (Point of balance)
  • การควบคุม(Handling) โค
  • ความปลอดภัย

ระดับความเครียดและปฏิกิริยาของสัตว์

 หลักการจัดการควบคุมสัตว์

  1. ตำแหน่งของคนจากมุมมองของสัตว์ = ตำแหน่งของภัยคุกคามที่เป็นไปได้
  2. หลีกเลี่ยงการถูกมองว่าเป็นภัยคุกคาม

“รูปแบบการหลบเลี่ยงผู้ล่า – สัญชาตญาณเป็นเหมือนกับสายที่ขดฝังในสมองและทำ หน้าที่เหมือนกับความจุข้อมูลของซอฟแวร์” (T. Grandin)

พฤติกรรมการเรียนรู้

องค์ประกอบที่สำคัญของการฆ่าอย่างมีมนุษยธรรม

การระมัดระวังตนเองของผู้ดูแลสัตว

  • การจัดการก่อนฆ่าที่ดี ขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานในด้าน :
    – ความรู้พื้นฐานที่มีในเรื่องสัตว์
    – ความรู้ด้านพฤติกรรมของสัตว์
    – ความเข้าใจว่าพฤติกรรมของคนเองมีผลต่อประสิทธิภาพของกระบวนการการจัดการ

 

 

 

อาณาเขต (flight zone)

http://www.grandin.com/behaviour/principles/flight.zone.html

อาณาเขต (flight zone)

วีดีทัศน์: อาณาเขต

จุดสมดุลย์ (Point of balance)

การควบคุมทิศทางสัตว์

http://www.dpi.nsw.gov.au/agriculture/livestock/beef/husbandry/general/handling-cattle

http://www.dpi.nsw.gov.au/animals-and-livestock/beef-cattle/husbandry/general-management/handling-cattle

T. Grandin,2011

http://www.grandin.com/behaviour/principles/flight.zone.html

การวางตำแหน่งของคน

การเคลื่อนย้ายฝูงสัตว์

http://www.grandin.com/behaviour/principles/flight.zone.html

วีดีทัศน์ : จุดสมดุลย์ (2)

วีดีทัศน์สรุป : จุดสมดุลย์

วีดีทัศน์ : การใช้ธงช่วยบังคับสัตว์ในโรงฆ่า

วีดีทัศน์ : การใช้ธงช่วยบังคับสัตว์ที่ฟาร์ม

สิ่งที่ทำให้การมองไขว้เขว (1)

สิ่งที่ทำให้การมองไขว้เขว (2)

  • ทางเดินสัตว์และผนังด้านข้าง

สิ่งที่ทำให้การมองไขว้เขว (1)

  • วัวได้ยินเสียงที่คนไม่ได้ยิน
  • วัวมีความไวต่อเสียงแหลมสูงบางอย่างจากเครื่องจักรและอุปกรณ์
  • เสียงดัง เสียงที่ดังต่อเนื่องใกล้เคียงกับพื้นที่จัดการสามารถทำให้ตกใจหรือหวาดกลัวและควรจะกำจัดเสียงเหล่านั้น

ความเสี่ยงจะสูงหากต้องการจัดการโคดังต่อไปนี้

  • โคที่ไม่ได้โดนควบคุมบ่อย ๆ
  • โคที่โดนบุคคลแปลกหน้าควบคุม จัดการ
  • โคในสภาพแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย
  • โคที่ผ่านประสบการณ์ไม่ดี
  • คนควบคุมสัตว์ขาดประสบการณ์ที่จำเป็น ขาดความคล่องตัวหรือขาดความสามารถในการประเมินความเสี่ยง

  • พ่อโค
  • แม่โคที่มีลูกโคแรกเกิด
  • โคอารมณ์ไม่ดีหรือเปลี่ยนแปลงง่าย
  • เมื่อโคโดดเดี่ยวและอยู่ห่างจากฝูงของมัน

 

 

การจัดการสัตว์ที่ไม่รู้จัก

  • สังเกตุโคและพฤติกรรมของมัน
  • เข้าหาโคอย่างสงบและช้าๆ
  • เคลื่อนตัวช้าๆ เข้าสู่อาณาเขต “flight zone” ในขณะที่สังเกตปฏิกิริยาของสัตว์
  • ปรับก้าวของคนโดยให้เข้ากับปฏิกิริยาของโค

ความปลอดภัย

  • ให้ระวังเรื่อง :
    – โคตัวผู้
    – โคที่ถูกทำให้โกรธและก้าวร้าวทุกตัว
    – สัตว์ที่กระวนกระวายและไม่สงบ
    – โคที่มีเขา

วีดีทัศน์ : ความปลอดภัย

ภาษากายของวัว

อุปกรณ์กระตุ้นไฟฟ้า

  • หลีกเลี่ยงไม่ให้ใช้ให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
  • หากจ าเป็นต้องถูกนำมาใช้เป็นทางเลือกสุดท้ายในสัตว์ที่ไม่ยอมเดิน
  • หากต้องใช้ จะต้องมีพื้นที่ข้างหน้าสัตว์
  • ใช้ได้เฉพาะที่ส่วนท้าย(hindquarters) ของสัตว์ที่โตแล้ว (ไม่ใช่ลูกวัว)
  • ใช้เป็นระยะเวลาไม่เกินหนึ่งวินาทีต่อการจี้แต่ละครั้ง
  • ต้องไม่ใช้ซ้าแล้วซ้าอีกถ้าสัตว์ไม่ยอมตอบสนอง
  • หากต้องใช้อุปกรณ์กระตุ้นไฟฟ้ าในบริเวณใดบริเวณหนึ่งซ้าๆ ให้ตรวจสอบบริเวณนั้นว่ามีสิ่งกีดขวางทางกายภาพหรืออื่นๆ ที่ทำให้สัตว์ไม่ยอมเคลื่อนย้าย แล้วแก้ไขปัญหานั้น

หลักการจัดการ (1)

  • ประเมินพฤติกรรมของโคก่อนเริ่มจัดการควบคุม
  • สังเกตปฏิกิริยาของวัวในขณะเข้าหามัน
  • จัดการควบคุมโคเป็น
  •  หากจัดการควบคุมโค พยายามใช้โคตัวนำช่วย
  • ใช้หลักการอาณาเขตและจุดสมดุลย์
  • ให้วัวสงบและเงียบสงบมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ตลอดเวลาในระหว่างการจัดการ
  • ให้เวลาโคมากพอ เพื่อให้โคได้สังเกตุสภาพแวดล้อมและเคลื่อนไปมาได้ในส่วนของมัน

หลักการจัดการ (2)

  • ใช้เครื่องมือการจัดการอย่างมีมนุษยธรรม – ธงและ talkers เมื่อต้องจัดการควบคุมโค
  • ให้เคลื่อนที่จากที่มืดกว่าไปหาที่สว่างกว่า
  • ย้ายสิ่งที่ทำให้ไขว้เขวต่าง ๆ
  • อย่าบังคับให้สัตว์ที่เคลื่อนที่ช้าให้เดินเร็วขึ้น
  • หากการจัดการควบคุมโคได้ลำบาก ให้ลดขนาดฝูงโคลง

วิธีการจัดการควบคุมอื่น ๆ ที่อาจจ าเป็นในบางครั้ง

  • สัตว์ที่มีขนาดเล็กมากหรือ ไม่มีอาณาเขต “flight zone” ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ
  • บริเวณที่มีปัญหา : ที่ขนสัตว์ขึ้น ที่เอาสัตว์ลง บริเวณต้อนเข้าซองบังคับ
  • เทคนิค :
    – จูงโดยใช้บังเหียนหรือเชือก
    – ปิดตาแล้วจูง
    – ปิดตาแล้วผลักไปข้างหลัง
    – ปิดตาแล้วจับหมุนรอบตัว 3-4 รอบแล้วต้อนในทิศทางที่ต้องการ

ที่มา http://certify.dld.go.th/th/images/oie/animal%20welfare%20beef/03.pdf

 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *